Skip to main content
  • Search
  • AIA Thailand
  • ผลิตภัณฑ์
    • ประกันชีวิตเพื่อความคุ้มครอง
    • ประกันสำหรับลูกค้าสินทรัพย์สูง
    • ประกันชีวิตเพื่อการสะสมทรัพย์
    • ประกันชีวิตแบบยูนิต ลิงค์
    • ประกันโรคร้ายแรง
    • ประกันสุขภาพ
    • ประกันอุบัติเหตุ
    • ประกันชีวิตแบบบำนาญ
    • เอไอเอ ไวทัลลิตี้ โพรเทคชั่น
    • ช่องทางผ่านธนาคาร
    • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
    • การประกันภัยกลุ่ม
    • ประกันสินเชื่อ
    • ประกันสำหรับพนักงาน/ข้าราชการ
  • โปรโมชั่นประจำเดือน
    • โครงการ Opt-In สำหรับลูกค้าปัจจุบันของเอไอเอ
    • บัตรเครดิต KTC
    • บัตรเครดิต ซิตี้
    • บัตรเครดิต Krungsri
    • ประกาศรายชื่อผู้โชคดีจากกิจกรรม “เอไอเอก้าวไกลสู่สังคมไร้เงินสด”
    • เอกสิทธิ์สำหรับลูกค้า
    • เอกสิทธิ์สำหรับลูกค้า สำหรับประสบการณ์พิเศษ ระดับมิชลินสตาร์
    • โครงการ Opt-In สำหรับลูกค้าปัจจุบันของเอไอเอ
  • บริการลูกค้า
    • บริการด้านกรมธรรม์
    • บริการด้านสุขภาพ
    • เรียกร้องสินไหม
    • ชำระเบี้ยประกัน
    • ดาวน์โหลดฟอร์ม
    • สิทธิประโยชน์
    • ยกเว้นภาษีเงินได้จากประกัน (TAX CONSENT)
    • วางแผนภาษี (Tax Planner)
    • ติดต่อเรา
    • คำถามพบบ่อย
  • เลือกแบบประกันที่เหมาะกับคุณ
    • ให้เราช่วยคุณเลือก
    • ดูแลชีวิตรอบด้าน
    • อยากประสบความสำเร็จ ต้องมีทั้งแผนเชิงรุก และเชิงรับให้สมดุล
    • ประเมินความคุ้มครองที่ควรมีอย่างไร เพื่อให้อุ่นใจว่าประกันที่มีจะเพียงพอ
    • ความรับผิดชอบทางการเงินที่วัยกลางคนต้องวางแผน
    • 3 โจทย์พิชิตชีวิตเพื่อความสงบสุขทางใจสำหรับคนวัยเกษียณ
    • ทำไมการวางแผนชีวิตและการเงินจึงเป็นเรื่องที่เราไม่ควรละเลย
    • วินัยทางการเงินหัวใจสำคัญที่จะทำให้ฝันเป็นจริง
  • เกี่ยวกับเอไอเอ
    • โครงสร้างองค์กร
    • สื่อประชาสัมพันธ์
    • ประกาศจากเอไอเอ
    • การเปิดเผยข้อมูลของบริษัท
    • ร่วมงานกับเอไอเอ
    • คำมั่นสัญญาของเอไอเอ ประเทศไทย
    • คณะกรรมการบริหาร เอไอเอ
  • สำหรับตัวแทน
    • ระบบตัวแทน
    • สมัครเป็นตัวแทน
  • บริการออนไลน์สำหรับลูกค้า
    • ลูกค้าบุคคล
    • ลูกค้าองค์กร
  • ชำระเบี้ยประกันด้วยบัตรเครดิตผ่านเว็บไซต์ AIA iService
  • บริการนัดหมายตรวจสุขภาพทำประกัน
AIA
เอไอเอ ประเทศไทย เอไอเอ ประเทศไทย
  • ผลิตภัณฑ์

    ผลิตภัณฑ์

    เลือกสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของคุณ

    ดูเพิ่มเติม

    ลูกค้าบุคคล

    ลูกค้าองค์กร

    • ประกันชีวิตเพื่อความคุ้มครอง

    • ประกันสำหรับลูกค้าสินทรัพย์สูง

    • ประกันชีวิตเพื่อการสะสมทรัพย์

    • ประกันชีวิตแบบยูนิต ลิงค์

    • ประกันโรคร้ายแรง

    • ประกันสุขภาพ

    • ประกันอุบัติเหตุ

    • ประกันชีวิตแบบบำนาญ

    • เอไอเอ ไวทัลลิตี้ โพรเทคชั่น

    • ช่องทางผ่านธนาคาร

    • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

    • การประกันภัยกลุ่ม

    • ประกันสินเชื่อ

    • ประกันสำหรับพนักงาน/ข้าราชการ

  • โปรโมชั่นประจำเดือน

    โปรโมชั่นประจำเดือน

    • โครงการ Opt-In สำหรับลูกค้าปัจจุบันของเอไอเอ

    • บัตรเครดิต KTC

    • บัตรเครดิต ซิตี้

    • บัตรเครดิต Krungsri

    • ประกาศรายชื่อผู้โชคดีจากกิจกรรม “เอไอเอก้าวไกลสู่สังคมไร้เงินสด”

    • เอกสิทธิ์สำหรับลูกค้า

    • เอกสิทธิ์สำหรับลูกค้า สำหรับประสบการณ์พิเศษ ระดับมิชลินสตาร์

    • โครงการ Opt-In สำหรับลูกค้าปัจจุบันของเอไอเอ

  • บริการลูกค้า

    บริการลูกค้า

    เรามุ่งมั่นจะบริการช่วยเหลือในทุกความต้องการของคุณ

    ติดต่อเอไอเอ
    • บริการด้านกรมธรรม์

    • บริการด้านสุขภาพ

    • เรียกร้องสินไหม

    • ชำระเบี้ยประกัน

    • ดาวน์โหลดฟอร์ม

    • สิทธิประโยชน์

    • ยกเว้นภาษีเงินได้จากประกัน (TAX CONSENT)

    • วางแผนภาษี (Tax Planner)

    • ติดต่อเรา

    • คำถามพบบ่อย

  • เลือกแบบประกันที่เหมาะกับคุณ

    ดูแลชีวิตรอบด้าน

    ให้เราช่วยดูแลสิ่งสำคัญของคุณ

    ดูบทความทั้งหมด

    สาระน่ารู้

    บทความสาระประโยชน์สำหรับทุกช่วงชีวิต

    ดูบทความทั้งหมด
    • ให้เราช่วยคุณเลือก

    • ดูแลชีวิตรอบด้าน

    • อยากประสบความสำเร็จ ต้องมีทั้งแผนเชิงรุก และเชิงรับให้สมดุล

    • ประเมินความคุ้มครองที่ควรมีอย่างไร เพื่อให้อุ่นใจว่าประกันที่มีจะเพียงพอ

    • ความรับผิดชอบทางการเงินที่วัยกลางคนต้องวางแผน

    • 3 โจทย์พิชิตชีวิตเพื่อความสงบสุขทางใจสำหรับคนวัยเกษียณ

    • ทำไมการวางแผนชีวิตและการเงินจึงเป็นเรื่องที่เราไม่ควรละเลย

    • วินัยทางการเงินหัวใจสำคัญที่จะทำให้ฝันเป็นจริง

  • เกี่ยวกับเอไอเอ

    เกี่ยวกับเอไอเอ

    เกือบหนึ่งร้อยปีที่เอไอเอดูแลความต้องการให้คนไทยตลอดมา

    ดูเพิ่มเติม
    • โครงสร้างองค์กร

    • สื่อประชาสัมพันธ์

    • ประกาศจากเอไอเอ

    • การเปิดเผยข้อมูลของบริษัท

    • ร่วมงานกับเอไอเอ

    • คำมั่นสัญญาของเอไอเอ ประเทศไทย

    • คณะกรรมการบริหาร เอไอเอ

  • สำหรับตัวแทน

    สำหรับตัวแทน

    • ระบบตัวแทน

    • สมัครเป็นตัวแทน

  • บริการออนไลน์สำหรับลูกค้า

    ระบบออนไลน์สำหรับลูกค้า

    ล็อกอินเพื่อเข้าสู่ระบบบริการลูกค้า

    เลือกบริการออนไลน์

      ลูกค้าบุคคล

    • ระบบข้อมูลลูกค้า AIA iService

      ระบบ AIA Vitality

      ลูกค้าองค์กร

    • ตรวจสอบข้อมูลประกันกลุ่ม e-benefit

      ข้อมูลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับสมาชิก

      ข้อมูลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับนายจ้าง

      เรียกร้องสินไหมสำหรับโรงพยาบาล (สำหรับพันธมิตรธุรกิจ)

      Provident Fund Balance Enquiry

      For Member

      For Employer

  • ค้นหา
  • Contact Us
    • เอไอเอ คอลเซ็นเตอร์ 1581

      ตลอด 24 ชั่วโมง

    • บริการนัดหมายล่วงหน้า

      ที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์เอไอเอ

    • สอบถามหรือแนะนำบริการ

2561
ย้อนกลับ | ถัดไป
สอบถาม หรือแนะนำบริการ
กลับสู่ด้านบน
  • {{title}}

    {{label}}
  • เอไอเอเผยผลวิจัย ประเทศไทยประสบปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการเงิน” เมื่อเผชิญโรคร้ายแรง ดัชนีเอไอเอ เฮลธ์ตี้ ลิฟวิ่ง อินเด็กซ์ 2561 รายงาน จำนวนคนที่พอใจในสุขภาพของตนเอง ลดน้อยลง แม้จะมีพฤติกรรมด้านสุขภาพดีขึ้น

    20 มิถุนายน 2561


    เอไอเอเผยผลวิจัย ประเทศไทยประสบปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการเงิน”

             

              กลุ่มบริษัทเอไอเอ (“เอไอเอ”) พบคนไทยเผชิญปัญหาหนักในด้าน “ความเหลื่อมล้ำทางการเงิน”  โดยเงินออม รวมถึงประกันชีวิตและประกันภัยที่มีอยู่ และการให้บริการด้านสุขภาพของภาครัฐอาจไม่เพียงพอต่อการจ่ายค่ารักษาพยาบาลโรคร้ายแรง (เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ เบาหวาน และโรคร้ายแรงอื่นๆ)

              ผลสำรวจนี้เป็นส่วนหนึ่งของดัชนีเอไอเอ เฮลธ์ตี้ ลิฟวิ่ง อินเด็กซ์ ครั้งล่าสุด (“การสำรวจ”) ซึ่งเป็นการสำรวจครั้งที่ 4 นับตั้งแต่ปี 2554 โดยเน้นสำรวจแนวโน้มสุขภาพ แรงจูงใจ และความกังวลในเรื่องสุขภาพของบุคคลและชุมชนทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค

              ทั้งนี้ ผลการสำรวจในประเทศไทยพบว่า 36% ของคนไทยมีความกังวลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นในการรักษาโรคร้ายแรง ซึ่งเมื่อให้ประเมินค่ารักษาพยาบาลที่คาดว่าเขาจะต้องรับผิดชอบกรณีเป็นโรคมะเร็ง มากกว่าครึ่ง (51%) ประเมินว่าจำนวนเงินดังกล่าวจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อสถานะทางการเงินของพวกเขา 

              ความวิตกกังวลนี้สมเหตุสมผลเมื่อพิจารณาถึงปัญหาทางการเงินที่คาดว่าจะต้องเผชิญหากป่วยเป็นโรคร้ายแรง  เช่น สำหรับโรคมะเร็ง ผู้ตอบแบบสอบถามคาดว่าจะมีเงินจ่ายค่ารักษาพยาบาลได้เพียง 70% ของค่ารักษาพยาบาลทั้งหมด ที่จ่ายได้เพียง 74% สำหรับโรคหัวใจ และจ่ายได้เพียง 83% สำหรับโรคเบาหวาน โดยรวมแล้ว คนไทยพึงพอใจในสุขภาพและสุขนิสัยของตนลดลงจากเมื่อ 2 ปีก่อน โดยผู้ตอบแบบสอบถาม 82% พึงพอใจในสุขภาพของตน ซึ่งลดลงจากการสำรวจดัชนีเอไอเอ เฮลธ์ตี้ ลิฟวิ่ง อินเด็กซ์ ที่จัดขึ้นก่อนหน้านี้เมื่อปี 2559 ที่ระดับความพึงพอใจในสุขภาพอยู่ที่ 86% 

              มีคนไทย 61% ที่พึงพอใจกับจำนวนครั้งในการออกกำลังกายของตน ลดลง 16% จากปี 2559 และมีเพียง 63% ที่พอใจกับความถี่ในการตรวจสุขภาพของตน ลดลง 13% จากปี 2559

              ผลลัพธ์นี้น่าจะสะท้อนให้เห็นถึงความคาดหวังที่เปลี่ยนแปลงไปของไลฟ์สไตล์และพฤติกรรมด้านสุขภาพในอุดมคติ ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับการเปลี่ยนแปลงสุขนิสัยในด้านสุขภาพ ถึงแม้ระดับความพึงพอใจในสุขภาพของคนไทยจะลดน้อยลง แต่คนไทยมีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรมที่คำนึงถึงสุขภาพมากขึ้น ซึ่งเราพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามในไทยจะใช้เวลาในการออกกำลังกายโดยเฉลี่ย 4.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ในปี 2559

              อย่างไรก็ตาม เป็นเรื่องยากที่คนเราจะมีพฤติกรรมที่ดูแลสุขภาพได้อย่างต่อเนื่อง  มีเพียง 52% ของผู้ที่เคยควบคุมอาหารยังคงทำต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และมีเพียง 55% ของผู้ที่เคยเข้ายิมหรือฟิตเนสยังคงเข้าอยู่ในช่วง 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา 

              ในขณะเดียวกัน เทคโนโลยีก็ส่งผลบวกต่อการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน คนส่วนใหญ่ (77% ของผู้ตอบแบบสอบถามในไทย) มีความเห็นว่าเทคโนโลยีเพื่อดูแลสุขภาพสามารถใช้งานได้ง่าย โดย 73% มองว่าอุปกรณ์เหล่านี้กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น แต่ก็มีคนไทยมากกว่าหนึ่งในสาม (38%) ที่เคยใช้อุปกรณ์ติดตามดังกล่าวกลับหยุดใช้อุปกรณ์เหล่านี้แล้ว

              มร. ตัน ฮาค เลห์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เอไอเอ ประเทศไทย กล่าวว่า “ดัชนีเอไอเอ เฮลธ์ตี้ ลิฟวิ่ง อินเด็กซ์ สนับสนุนคำมั่นสัญญาของเราที่ต้องการส่งเสริมให้ผู้คนมีสุขภาพที่แข็งแรง อายุยืนยาว และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เราหวังว่าการสำรวจนี้จะกระตุ้นให้คนตระหนักถึงสาเหตุหลักของปัญหาสุขภาพ ซึ่งเกิดจากไลฟ์สไตล์การดำเนินชีวิตและพฤติกรรมที่บั่นทอนสุขภาพ และหันมาปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลกรายงานว่า 60% ของผู้เสียชีวิตทั่วโลกเกิดจากโรคที่ไม่ติดต่อ หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต เช่น โรคหัวใจและเบาหวาน ผลการสำรวจดัชนีเอไอเอ เฮลธ์ตี้ ลิฟวิ่ง อินเด็กซ์นี้ไม่เพียงช่วยให้เราเข้าใจเกี่ยวกับความวิตกกังวล ทัศนคติ และพฤติกรรมด้านสุขภาพของผู้ใหญ่ในวัยทำงานได้ดียิ่งขึ้น แต่ยังช่วยให้เราสามารถพัฒนาโปรแกรมที่จะกระตุ้นและสนับสนุนให้คนไทยมีสุขนิสัยด้านสุขภาพที่ดีขึ้นอีกด้วย” 

             นายเอกรัตน์ ฐิติมั่น ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด เอไอเอ ประเทศไทย  กล่าวว่า “เรารู้สึกดีใจที่ผลสำรวจพบว่า คะแนนดัชนีชี้วัดสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่การสำรวจครั้งแรกเมื่อปี 2554  ซึ่งในปีนี้ เราได้ 67 คะแนนจากคะแนนเต็มร้อย ส่งผลให้ไทยเราขยับขึ้นเป็นอันดับ 3 จาก 16 ประเทศที่ทำการสำรวจ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคนไทยมีแนวโน้มที่จะใส่ใจในสุขภาพและต้องการที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีสุขภาพที่แข็งแรงมากขึ้น”

               “ถึงแม้ว่าคนไทยจะตระหนักมากขึ้นถึงความสำคัญของการมีคุณภาพชีวิตที่ดี แต่หลายคนก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อให้สุขภาพของตนดีขึ้น ดังนั้น เอไอเอจึงได้ริเริ่มโครงการและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพต่างๆ อย่างต่อเนื่อง  เพื่อกระตุ้นให้คนไทยมีการดำเนินชีวิตที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น ซึ่งโครงการ AIA Vitality เป็นหนึ่งในโครงการส่งเสริมสุขภาพที่ประสบความสำเร็จในการกระตุ้นให้สมาชิกเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อการมีสุขภาพที่ดีได้อย่างยั่งยืนและบรรลุเป้าหมายสุขภาพได้ตามที่ต้องการ”

               “นอกจากนี้ เพื่อตอกย้ำคำมั่นสัญญาของเราที่มุ่งมั่นสนับสนุนให้คนไทยในทุกภาคส่วนมีสุขภาพที่แข็งแรง ล่าสุด เราได้เปิดตัวโครงการ ‘Thailand’s Healthiest Workplace by AIA Vitality’ ซึ่งเป็นโครงการสำรวจสุขภาพบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้บริษัทและหน่วยงานต่างๆตระหนักถึงสุขภาพและคุณภาพชีวิตของพนักงานอย่างจริงจัง ตลอดจนช่วยให้บริษัทและหน่วยงานเหล่านั้นมีข้อมูลเชิงลึกและกลยุทธ์ในการส่งเสริมสุขภาพของพนักงานได้อย่างดีที่สุด”

               “เราหวังว่าโครงการส่งเสริมสุขภาพต่างๆ ที่เราได้ริเริ่มขึ้นทั้งหมดนี้จะช่วยสนับสนุนให้คนไทยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้เป็นอย่างดี” นายเอกรัตน์ กล่าวปิดท้าย

              ท่านสามารถดูรายละเอียดของผลการวิจัยเพิ่มเติมได้ที่รายงานฉบับเต็มของเอไอเอประจำภูมิภาค โดยคลิกที่ลิงค์  https://www.aia.com/en/healthy-living/aia-healthy-living-index.html 

              ดัชนีเอไอเอ เฮลธ์ตี้ ลิฟวิ่ง อินเด็กซ์ (The AIA Healthy Living Index) สำรวจความคิดเห็นของผู้ใหญ่วัยทำงานจำนวน 11,000 คนใน 16 ประเทศที่เอไอเอดำเนินธุรกิจอยู่ ทั้งนี้ เอไอเอ ได้มอบหมายให้ IPSOS บริษัทวิจัยผู้บริโภคชั้นนำ ดำเนินการสำรวจ

    whiteline

    whiteline
    whiteline
    Accident Pro Prime

    ติดต่อเอไอเอ

    โทร 1581

    181 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

    ติดต่อเอไอเอ

    โทร 1581

    181 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

    เข้าสู่

    AIA.COM

    รู้จักกลุ่มบริษัท เอไอเอ ได้มากขึ้นที่นี่

    เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น ท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของคุกกี้ที่เราจัดเก็บ เหตุผลในการใช้คุกกี้ และวิธีการตั้งค่าคุกกี้ได้ใน นโยบายคุกกี้ และ คำแถลงเกี่ยวกับนโยบายส่วนบุคคลของเรา

    สำรวจเอไอเอ

    เอไอเอ เพรสทีจ คลับ

    กิจกรรมลูกค้าเอไอเอ

    เอไอเอ ไวทัลลิตี้

    AIA FINANCIAL ADVISOR

    เกี่ยวกับเอไอเอ

    สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์

    ร่วมงานกับเอไอเอ

    คำถามพบบ่อย

    เข้าสู่

    AIA.COM

    รู้จักกลุ่มบริษัท เอไอเอ ได้มากขึ้นที่นี่

    เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น ท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของคุกกี้ที่เราจัดเก็บ เหตุผลในการใช้คุกกี้ และวิธีการตั้งค่าคุกกี้ได้ใน นโยบายคุกกี้ และ คำแถลงเกี่ยวกับนโยบายส่วนบุคคลของเรา

    สำรวจเอไอเอ

    เอไอเอ เพรสทีจ คลับ

    กิจกรรมลูกค้าเอไอเอ

    เอไอเอ ไวทัลลิตี้

    AIA FINANCIAL ADVISOR

    เกี่ยวกับเอไอเอ

    สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์

    ร่วมงานกับเอไอเอ

    คำถามพบบ่อย


    สงวนลิขสิทธิ์ © 2564, กลุ่มบริษัทเอไอเอ และบริษัทในเครือ ขอสงวนสิทธิ์ทั้งหมดตามกฎหมาย
    ข้อตกลงการใช้ | คำแถลงเกี่ยวกับนโยบายส่วนบุคคลของเรา | นโยบายคุกกี้
    คำเตือน: ผู้ซื้อควรทำความเข้าใจในรายละเอียดความคุ้มครองและเงื่อนไขก่อนตัดสินใจทำประกันภัยทุกครั้ง