Skip to main content
  • Search
  • AIA Thailand
  • ผลิตภัณฑ์
    • ประกันชีวิตเพื่อความคุ้มครอง
    • ประกันสำหรับลูกค้าสินทรัพย์สูง
    • ประกันชีวิตเพื่อการสะสมทรัพย์
    • ประกันชีวิตแบบยูนิต ลิงค์
    • ประกันโรคร้ายแรง
    • ประกันสุขภาพ
    • ประกันอุบัติเหตุ
    • ประกันชีวิตแบบบำนาญ
    • เอไอเอ ไวทัลลิตี้ โพรเทคชั่น
    • ช่องทางผ่านธนาคาร
    • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
    • การประกันภัยกลุ่ม
    • ประกันสินเชื่อ
    • ประกันสำหรับพนักงาน/ข้าราชการ
  • โปรโมชันและสิทธิพิเศษ
  • บริการลูกค้า
    • บริการด้านกรมธรรม์
    • บริการด้านสุขภาพ
    • บริการที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19
    • เรียกร้องสินไหม
    • ชำระเบี้ยประกัน
    • ดาวน์โหลดฟอร์ม
    • สิทธิประโยชน์
    • ยกเว้นภาษีเงินได้จากประกัน (TAX CONSENT)
    • วางแผนภาษี (Tax Planner)
    • ติดต่อเรา
    • คำถามพบบ่อย
    • ดาวน์โหลดหนังสือรับรองชำระเบี้ย
  • เลือกแบบประกันที่เหมาะกับคุณ
  • เกี่ยวกับเอไอเอ
    • โครงสร้างองค์กร
    • สื่อประชาสัมพันธ์
    • ประกาศจากเอไอเอ
    • การเปิดเผยข้อมูลของบริษัท
    • ร่วมงานกับเอไอเอ
    • คำมั่นสัญญาของเอไอเอ ประเทศไทย
    • คณะกรรมการบริหาร เอไอเอ
  • สำหรับตัวแทน
    • ระบบตัวแทน
    • สมัครเป็นตัวแทน
  • บริการออนไลน์
    • ลูกค้าบุคคล
    • ลูกค้าองค์กร
  • ชำระเบี้ยประกันด้วยบัตรเครดิตผ่านเว็บไซต์ AIA iService
  • เอไอเอพร้อมดูแลคุณ ในสถานการณ์โควิด-19 ที่แพร่ระบาด
  • บริการนัดหมายตรวจสุขภาพทำประกัน
AIA
เอไอเอ ประเทศไทย เอไอเอ ประเทศไทย
  • ผลิตภัณฑ์

    ผลิตภัณฑ์

    เลือกสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของคุณ

    ดูเพิ่มเติม

    ลูกค้าบุคคล

    ลูกค้าองค์กร

    • ประกันชีวิตเพื่อความคุ้มครอง

    • ประกันสำหรับลูกค้าสินทรัพย์สูง

    • ประกันชีวิตเพื่อการสะสมทรัพย์

    • ประกันชีวิตแบบยูนิต ลิงค์

    • ประกันโรคร้ายแรง

    • ประกันสุขภาพ

    • ประกันอุบัติเหตุ

    • ประกันชีวิตแบบบำนาญ

    • เอไอเอ ไวทัลลิตี้ โพรเทคชั่น

    • ช่องทางผ่านธนาคาร

    • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

    • การประกันภัยกลุ่ม

    • ประกันสินเชื่อ

    • ประกันสำหรับพนักงาน/ข้าราชการ

  • โปรโมชันและสิทธิพิเศษ

    โปรโมชันและสิทธิพิเศษ

  • บริการลูกค้า

    บริการลูกค้า

    เรามุ่งมั่นจะบริการช่วยเหลือในทุกความต้องการของคุณ

    ติดต่อเอไอเอ
    • บริการด้านกรมธรรม์

    • บริการด้านสุขภาพ

    • บริการที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19

    • เรียกร้องสินไหม

    • ชำระเบี้ยประกัน

    • ดาวน์โหลดฟอร์ม

    • สิทธิประโยชน์

    • ยกเว้นภาษีเงินได้จากประกัน (TAX CONSENT)

    • วางแผนภาษี (Tax Planner)

    • ติดต่อเรา

    • คำถามพบบ่อย

    • ดาวน์โหลดหนังสือรับรองชำระเบี้ย

  • เลือกแบบประกันที่เหมาะกับคุณ

    ดูแลชีวิตรอบด้าน

    ให้เราช่วยดูแลสิ่งสำคัญของคุณ

    ดูบทความทั้งหมด

    สาระน่ารู้

    บทความสาระประโยชน์สำหรับทุกช่วงชีวิต

    ดูบทความทั้งหมด
  • เกี่ยวกับเอไอเอ

    เกี่ยวกับเอไอเอ

    เกือบหนึ่งร้อยปีที่เอไอเอดูแลความต้องการให้คนไทยตลอดมา

    ดูเพิ่มเติม
    • โครงสร้างองค์กร

    • สื่อประชาสัมพันธ์

    • ประกาศจากเอไอเอ

    • การเปิดเผยข้อมูลของบริษัท

    • ร่วมงานกับเอไอเอ

    • คำมั่นสัญญาของเอไอเอ ประเทศไทย

    • คณะกรรมการบริหาร เอไอเอ

  • สำหรับตัวแทน

    สำหรับตัวแทน

    • ระบบตัวแทน

    • สมัครเป็นตัวแทน

  • บริการออนไลน์

    ระบบออนไลน์สำหรับลูกค้า

    ล็อกอินเพื่อเข้าสู่ระบบบริการลูกค้า

    เลือกบริการออนไลน์

      ลูกค้าบุคคล

    • ระบบข้อมูลลูกค้า AIA iService

      ลูกค้าองค์กร

    • ตรวจสอบข้อมูลประกันกลุ่ม e-benefit

      ข้อมูลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับสมาชิก

      ข้อมูลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับนายจ้าง

      เรียกร้องสินไหมสำหรับโรงพยาบาล (สำหรับพันธมิตรธุรกิจ)

      Provident Fund Balance Enquiry

      For Member

      For Employer

  • ค้นหา
  • Contact Us
    • เอไอเอ คอลเซ็นเตอร์ 1581

      ตลอด 24 ชั่วโมง

    • บริการนัดหมายล่วงหน้า

      ที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์เอไอเอ

    • สอบถามหรือแนะนำบริการ

สัญญาเพิ่มเติมเอไอเอ เอชบี เอ็กซ์ตร้า
ย้อนกลับ
สอบถาม หรือแนะนำบริการ
กลับสู่ด้านบน
  • {{title}}

    {{label}}
  • ชีวิตติดหวาน อันตรายจากน้ำตาลที่คาดไม่ถึง

    ชีวิตติดหวาน อันตรายจากน้ำตาลที่คาดไม่ถึง

    ปัจจุบันได้มีเมนูขนมหวานต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นโทสต์ ชานมไข่มุก ชีสเค้ก หรือแม้แต่ขนมครกใบเตย ล้วนเป็นขนมที่ได้รับความนิยม ด้วยรสชาติหวานอร่อย คงทำให้หลาย ๆ คนยากที่จะหยุดกินและจะต้องอยากกลับมากินซ้ำแล้วซ้ำอีก แล้วมีใครเคยสงสัยบ้างไหม ว่าถ้าเรากินเยอะ ๆ นอกจากที่เราจะอ้วนจะมีผลอะไรอีก และถ้าอยากจะแก้การเสพติดรสหวานควรทำยังไง

    ชีวิตติดหวาน อันตราย ขนาดไหน?

    รสหวาน คงเป็นที่ชื่นชอบของใครหลาย ๆ คน แต่จะมีกี่คนที่รู้ถึงปริมาณน้ำตาลที่กินจากเมนูขนมต่าง ๆ และผลเสียที่จะเกิดขึ้น ลองมาดูผลที่จะเกิดถ้าเราติดหวานกัน

    1.  น้ำหนักพุ่งไขมันเพียบเพราะกินน้ำตาลเกิน 6 ช้อนชา

    น้ำตาลในอาหารหรือเครื่องดื่มบางชนิด มีอยู่ในปริมาณที่เยอะมากเมื่อเทียบกับปริมาณทั้งหมด ทำให้กินได้เรื่อย ๆ โดยน้ำตาล 1 ช้อนชาให้พลังงานถึง 16 กิโลแคลอรี จึงทำให้ร่างกายได้รับพลังงานส่วนเกินมาก และร่างกายจะนำไปเก็บในรูปแบบของไขมันส่วนเกินนั่นเอง จึงนำไปสู่การเกิดโรคอ้วนในที่สุด

    2.  หน้าไม่เรียบเนียนเป็นสิวผดและริ้วรอยเพราะ IGF-1 และ AGEs

    เมื่อกินของหวาน ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ร่างกายก็จะหลั่งอินซูลินออกมาเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด แต่เมื่ออินซูลินสูงขึ้นจะไปกระตุ้นทำให้ insulin-like growth factor-1 (IGF-1) มากขึ้น ซึ่งสารตัวนี้จะอาจทำให้ผิวหนังหนาขึ้นอย่างรวดเร็ว และทำให้มีการอุดตันของไขมันใต้ผิวหนังแล้วนำไปสู่การเกิดสิวในที่สุด และน้ำตาลที่กินเข้าไปจะทำให้เกิดปฏิกิริยา ไกลเคชั่น (Glycation) ระหว่างน้ำตาลและโปรตีน แล้วทำให้เกิดสารที่มีชื่อว่า Advanced Glycation End-Products (AGEs) ซึ่งเป็นสารที่จะไปทำลายชั้นคอลลาเจนและโปรตีนใต้ผิวหนัง ทำให้เกิดเป็นจุดด่างดำและริ้วรอยไวกว่าปกติ

    3.  สมองผิดปกติเพราะการหลั่งอินซูลินมากเกินไป

    เพราะว่าปกติแล้วร่างกายของเราเมื่อกินน้ำตาลเข้าไปจะมีการปล่อยอินซูลินออกมาเพื่อขนส่งน้ำตาล และจะมีสาร Insulin-degrading enzyme (IDE) ที่จะคอยกำจัดอินซูลินส่วนเกินอีกทั้งกำจัดสาร แอมีลอยด์ บีตา (Amyloid beta) ที่ทำให้เกิดโรคสมองเสื่อม ดังนั้นถ้าเรากินน้ำตาลมาก ๆ ก็จะมีอินซูลินหลั่งมากขึ้นและ IDE ก็จะต้องทำลายอินซูลินส่วนเกินที่ออกมา ทำให้ไม่เพียงพอต่อการไปทำลายสาร แอมีลอยด์ บีตา ทำให้เกิดการสะสมที่สมองมากขึ้นและเกิดโรคสมองเสื่อมในที่สุด

    4.  สะสมน้ำตาลที่เกินไปเป็นไขมันที่ตับ

    เพราะการกินน้ำตาลในปริมาณมากจะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ตับเลยนำน้ำตาลเหล่านั้นมาสร้างเป็นไขมันสำหรับเป็นพลังงานสำรอง แต่ถ้าเรายังกินน้ำตาลเยอะและมีระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงอยู่ ก็จะส่งผลให้มีไขมันที่ตับมากขึ้นจนเกิดเป็นไขมันพอกตับนั่นเอง

    เคล็ด(ไม่)ลับลดติดหวาน

    1.  กินผลไม้แทนขนมดีไหม

    กินผลไม้ในประมาณที่เหมาะสม เพราะผลไม้มีประโยชน์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิตามิน เกลือแร่ และใยอาหาร แต่ยังมีรสชาติหวานอร่อยและมีน้ำตาลน้อยกว่าขนมหวานบางชิ้น

    2.  ปรุงน้อยลงหน่อยลดน้ำตาลที่จะเกิน

    ลดการปรุงรสในอาหารเพื่อให้ได้รับปริมาณน้ำตาลที่น้อยลง และไม่ให้ร่างกายได้รับพลังงานส่วนเกินมากไป

    3.  อ่านฉลากสักนิดว่าน้ำตาลเยอะหรือเปล่า

    วิธีดูปริมาณน้ำตาลที่จะได้รับจากการกินขนม เพื่อเลี่ยงขนมที่มีน้ำตาลมากเกินไป คือการดูที่ฉลากของขนม เพื่อใช้ตัดสินใจในการเลือกกินขนมที่มีน้ำตาลน้อยกว่านั่นเอง

    4.  ลดหวานวันละนิดให้ไม่เกิน 6 ช้อนชา

    เพื่อไม่ให้รู้สึกยากหรือทรมานเกินไป ลองลดความหวานลงวันละนิด เพื่อให้ร่างกายเริ่มชินไปเรื่อย ๆ จนลดการติดหวานได้ โดยคุมปริมาณน้ำตาลที่ได้รับจากอาหารและเครื่องดื่มต่าง ๆ ในแต่ละวันไม่ให้เกิน 6 ช้อนชา หรือประมาณ 24 กรัม

    จะเห็นว่าการติดหวานส่งผลเสียต่อร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นน้ำหนักเพิ่ม หน้าตาไม่เรียบเนียนจากสิวผดและริ้วรอย สมองเสื่อม หรือไขมันพอกตับ ดังนั้น เราควรลดปริมาณน้ำตาลที่กินในแต่ละวันโดยอาจจะเริ่มลดทีละช้า ๆ เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็นนิสัย โดยคุมไม่ให้กินน้ำตาลเกินวันละ 6 ช้อนชา เพียงเท่านี้เราก็จะแก้นิสัยติดหวานได้และจะได้มีร่างกายที่แข็งแรง ห่างไกลจากความเสี่ยงของการแก่ก่อนวัย โรคอ้วน หรือโรคอื่น ๆ ที่จะตามมาในอนาคต

    เรื่องสุขภาพคาดเดาไม่ได้ ทำประกันกับ AIA เพื่อลดความเสี่ยงทางการเงิน รับเงินชดเชยรายได้หากคุณต้องเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล

    สนใจรับคำปรึกษาการวางแผนประกันชีวิต

    ข้อมูลแบบประกัน

    AIA HB EXTRA สัญญาเพิ่มเติมกลุ่มชดเชยรายได้
    ระยะเวลาความคุ้มครอง สูงสุดถึงอายุ 80 ปี
    อายุผู้ขอเอาประกันภัย 1 เดือน – 70 ปี
    ช่องทางการขาย ตัวแทน
    • ดาวน์โหลดโบรชัวร์
    ผลประโยชน์ของแบบประกันชีวิต

    ผลประโยชน์ของแบบประกันชีวิต
    - ปิด + อ่านเพิ่มเติม

    • ค่าชดเชยรายวันเมื่อเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ กรณีเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาล รวมกรณี Day Case

    • กรณีนอนรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในห้องผู้ป่วยหนัก (ICU) รับเงินชดเชยรายวันเพิ่มเป็น 3 เท่า ของจำนวนเงินเอาประกันภัย

    • ค่าชดเชย 5 เท่า** ของจำนวนเงินเอาประกันภัย กรณีเข้ารับการผ่าตัด โดยการวางยาสลบหรือฉีดยาชาเข้าไขสันหลัง โดยวิสัญญีแพทย์

    • ค่าชดเชย 25 เท่า* ของจำนวนเงินเอาประกันภัย กรณีเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน เนื่องจากโรคร้ายแรงเฉียบพลัน 13 โรค*

    • ค่าใช้จ่ายหมวดยากลับบ้าน 1 เท่าของจำนวนเงินเอาประกันภัย หลังการเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาล รวมกรณี Day Case ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายหมวดยากลับบ้าน

    • ค่าชดเชย 10 เท่าของจำนวนเงินเอาประกันภัย กรณีเสียชีวิต

    • รับสิทธิสมาชิกโครงการ AIA Vitality เพื่อรับส่วนลดเบี้ยประกันภัยสุขภาพสูงสุด 15% และสิทธิประโยชน์มากมาย รายละเอียดเพิ่มเติม

    สาระน่ารู้

    สาระน่ารู้
    - ปิด + อ่านเพิ่มเติม

    ผู้ป่วยใน หมายถึงอะไร

    ผู้ที่จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลติดต่อกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง ซึ่งต้องลงทะเบียนเป็นผู้ป่วยใน โดยได้รับการวินิจฉัย และคำแนะนำจากแพทย์ตามข้อบ่งชี้ ซึ่งเป็นมาตรฐานทางการแพทย์ และในระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการรักษาการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยนั้นๆ และให้รวมถึงกรณีรับตัวให้เป็นผู้ป่วยในแล้วต่อมาเสียชีวิตก่อนครบ 6 ชั่วโมง

    โรคร้ายแรงเฉียบพลัน 13 โรค* ของสัญญาเพิ่มเติม AIA HB EXTRA

    1. กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันจากการขาดเลือด

    2. โรคหลอดเลือดสมองแตกหรืออุดตัน

    3. การผ่าตัดเส้นเลือดเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ

    4. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะหรือปลูกถ่ายไขกระดูก

    5. โรคไวรัสตับอักเสบขั้นรุนแรง

    6. โรคเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย

    7. แผลไหม้ฉกรรจ์

    8. ภาวะโคม่า

    9.สมองอักเสบจากเชื้อไวรัส

    10.การผ่าตัดลิ้นหัวใจโดยวิธีการเปิดหัวใจ

    11.การบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง

    12.การผ่าตัดเส้นเลือดแดงใหญ่เอออร์ต้า

    13.โรคคาวาซากิที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนของหัวใจ

    หมายเหตุ

    หมายเหตุ
    - ปิด + อ่านเพิ่มเติม

    • สามารถแนบท้ายสัญญาเพิ่มเติมได้ตามอายุรับประกันภัยของสัญญาเพิ่มเติมนั้นๆ หรือจนถึงกำหนดสัญญาของกรมธรรม์ประกันภัยหลัก (แล้วแต่เวลาใดถึงก่อน)

    • การตรวจสุขภาพและการพิจารณารับประกันภัยให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่บริษัทกำหนด

    • สัญญาเพิ่มเติมเป็นสัญญาประกันภัยที่มีระยะเวลาเอาประกันภัย 1 ปี ซึ่งอาจต่ออายุได้

    • บริษัทสงวนสิทธิ์ในการปรับเบี้ยประกันภัยในรอบปีกรมธรรม์ อันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น อายุ ขั้นอาชีพ ประสบการณ์การจ่ายสินไหมทดแทนของบริษัท เป็นต้น สำหรับสัญญาเพิ่มเติมกลุ่มค่ารักษาพยาบาล อาจมีปัจจัยอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น อัตราเงินเฟ้อทางการแพทย์และค่ารักษาพยาบาล เป็นต้น โดยได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน

    • ข้อมูลนี้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นเพื่อประกอบการนำเสนอเท่านั้น ผู้ขอเอาประกันภัยควรศึกษาทำความเข้าใจรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ประกันภัย และเงื่อนไขที่เอไอเอประกาศ ก่อนตัดสินใจทำประกันภัยทุกครั้ง

    • ข้อกำหนดและเงื่อนไขของความคุ้มครองจะระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยที่ออกให้กับผู้ถือกรมธรรม์

    • เบี้ยประกันภัยของสัญญาเพิ่มเติมนี้ ไม่ได้รับสิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เนื่องจากความคุ้มครองไม่เข้าเงื่อนไขของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้

    • ผู้ขอเอาประกันภัยมีหน้าที่แถลงข้อความจริงในการขอเอาประกันภัย การปกปิดข้อความจริงหรือแถลงข้อความเป็นเท็จใดๆ อาจะเป็นเหตุให้บริษัทผู้รับประกันภัยบอกล้างสัญญาประกันภัยและปฏิเสธไม่จ่ายค่าสินไหมทดแทนตามสัญญา

    *ตามคำนิยามของสัญญาเพิ่มเติม AIA HB EXTRA โดยบริษัทจะจ่ายผลประโยชน์นี้เพียงหนึ่งครั้งไม่ว่าจะเจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรงเฉียบพลันกี่โรคก็ตาม ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง และบริษัทจะไม่จ่ายผลประโยชน์นี้ในกรณีเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลครั้งต่อๆ ไป เนื่องจากภาวะแทรกซ้อน หรือภาวะสืบเนื่องที่เกิดจากโรคเดียวกัน

    **ได้รับการผ่าตัดโดยวางยาสลบ (Anesthesia) หรือฉีดยาชาเข้าไขสันหลัง (Spinal Anesthesia) โดยบริษัทจะจ่ายผลประโยชน์นี้เพียงหนึ่งครั้ง ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง

    ติดต่อเอไอเอ

    โทร 1581

    181 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

    ติดต่อเอไอเอ

    โทร 1581

    181 ถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

    เข้าสู่

    AIA.COM

    รู้จักกลุ่มบริษัท เอไอเอ ได้มากขึ้นที่นี่

    เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น ท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของคุกกี้ที่เราจัดเก็บ เหตุผลในการใช้คุกกี้ และวิธีการตั้งค่าคุกกี้ได้ใน นโยบายคุกกี้ และ คำแถลงเกี่ยวกับนโยบายส่วนบุคคลของเรา

    สำรวจเอไอเอ

    เอไอเอ เพรสทีจ คลับ

    กิจกรรมลูกค้าเอไอเอ

    AIA Vitality

    AIA FINANCIAL ADVISOR

    เกี่ยวกับเอไอเอ

    สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์

    ร่วมงานกับเอไอเอ

    คำถามพบบ่อย

    Thai CAC

    เข้าสู่

    AIA.COM

    รู้จักกลุ่มบริษัท เอไอเอ ได้มากขึ้นที่นี่

    เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น ท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของคุกกี้ที่เราจัดเก็บ เหตุผลในการใช้คุกกี้ และวิธีการตั้งค่าคุกกี้ได้ใน นโยบายคุกกี้ และ คำแถลงว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล

    สำรวจเอไอเอ

    เอไอเอ เพรสทีจ คลับ

    กิจกรรมลูกค้าเอไอเอ

    เอไอเอ ไวทัลลิตี้

    AIA FINANCIAL ADVISOR

    เกี่ยวกับเอไอเอ

    สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์

    ร่วมงานกับเอไอเอ

    คำถามพบบ่อย

    Thai CAC

    สงวนลิขสิทธิ์ © 2565, กลุ่มบริษัทเอไอเอ และบริษัทในเครือ ขอสงวนสิทธิ์ทั้งหมดตามกฎหมาย
    ข้อตกลงการใช้ | คำแถลงว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายคุกกี้
    คำเตือน: ผู้ซื้อควรทำความเข้าใจในรายละเอียดความคุ้มครองและเงื่อนไขก่อนตัดสินใจทำประกันภัยทุกครั้ง